Category: BIOS ROM

รวมเรื่องเกี่ยวกับไบออสโน๊ตบุ๊คนะครับ

BIOS ตัวถังชนิดนี้เราเรียกกันว่า TSOP ซึ่งมีใช้ในโน๊ตบุ๊คควบคู่กันกับ ROM ตัวถังแบบ PLCC 32 ซึ่ง ณ วันนี้เราจะถือว่าเป็นเรา BIOS แบบเก่าไปแล้วนะครับ  เพราะในปัจจุบัน เขาจะนิยมใช้ ROM ชนิด SPI Flash  ซึ่งมีตัวถังเป็นแบบ SO-IC 8  (8ขา) Advanced Eprom Programmer & Adapters Low Cost BIOS ROM ตัวถัง TSOP ที่มีขา 48 ขา ตอนนี้เลิกใช้แล้วนะครับ BIOS ROM ตัวถัง SOIC-8 ที่มีขา 8 ขา ใช้กันในปัจจุบัน    

สวัสดีครับเพื่อนๆ ชาว repair-notebook.com วันนี้ผมเข้ามาอัพเดรทข้อมูลสัก 1 บทความ ซึ่งเป็นเรื่องของ ROM BIOS ที่เราใช้ๆ กัน ทั้งที่อยู่ในเครื่อง PC , Notebook และอื่นๆครับ ขึ้นหัวข้อว่า ROM BIOS เราจะหาได้จากที่ไหนบ้างนั้น… ผมได้ทำบทความนี้เพื่อให้เพื่อนๆ ช่าง ได้ไอเดีย ไหวพริบ และหรืออาจจะเป็นการแนะนำ เพื่อในโอกาสที่เพื่อนๆได้เจออุปกรณ์ต่างๆ นั้น แต่เราไม่ได้ใช้ประโยชน์จากมัน และจะทิ้งไป  ซึ่งหากว่าเราจะทิ้งมันไปนั้นให้พิจารณาดูว่า อุปกรณ์นั้น มีชิ้นอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์ตัวไหนบ้างที่เราอาจจะจำเป็นต้องใช้ในอนาคต  หรือคิดว่ามันน่าจะเป็นตัวตายตัวแทนกันได้นะครับ ผมกำลังจะเข้าเรื่องตรงนี้ว่า  ROM BIOS โน๊ตบุ๊ค นั้น ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน ก็มีวิวัฒนาการเปลี่ยนไปหลายๆแบบ  ซึ่งเพื่อนๆหลายท่านยังงงๆ หรือยังไม่รู้จักเลยด้วยซ้ำ  เคยเข้าไปอ่านบทความที่ผมเขียนไว้ก่อนหน้านี้กันบ้างหรือเปล่าครับ ลองคลิ๊กอ่านได้จากที่นี่ ROM BIOS มีพัฒนากันมาหลายชนิด จนในปัจจุบันตกอยู่ ROM ชนิด SPI Flash ที่มีตัวถัง แบบ…

สวัสดีครับ  วันนี้ ขอนำภาพตัวถังของ IC Memory ที่เราเรียกกันว่ EEPROM มาให้ดูรูปแบบตัวถังกันนะครับ ว่ามันมีหลายลักษณะด้วยกัน  เวลาเพื่อนๆ เห็นมันในวงจรอิเล็คทรอนิคส์ เราจะได้เรียกมันถูกว่าเป็นแบบตัวถังแบบใด นะครับ  คงไม่ขอพูดอะไรมากกว่านี้  เอาเป็นรูปนำเสนอ ก็น่าจะ OK แล้วหละครับ  มีอะไรสงสัยก็เมล์สอบถามได้นะครับ

Power-On Password Hard Disk Password Supervisor Password Power-On Password RT/CMOS RAM has 8 bytes reserved for the power-on password and the check character. The 8 bytes are initialized to hex 00. The microprocessor can access these bytes only during POST. After POST is completed, if a power-on password is installed, the password bytes are locked…

สวัสดีครับเืพื่อนๆ? วันนี้ผมได้นำเรื่องเกี่ยวกับไบออสมาพูดกันอีกแล้วครับ คราวนี้เรามารู้จักความหมายของไบออสกันอีกครั้ง และเรามาดูกันว่า เจ้าตัวไบออสในเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรามันอยู่ตรงไหนกันบ้าง.. และหน้าตาเป็นอย่างไรกัน ไบออส (ฺBIOS ) คืออะไร ไบออส คือ โปรแกรมชุดแรกที่ CPU เรียกใช้ในการประมวลผลนะครับ ซึ่งจะมีหน้าที่ในตรวจความสมบูรณ์ของฮาร์ดแวร์ต่างๆ ของเครื่อง? เช่น CPU,RAM ,VGA ,HDD,Optica Drive และอื่นๆ? ซึ่งโดยทั่วไปของความสำคัญแล้ว? ไบออสจะทำการตรวจ CPU,RAM,VGA หากครบถ้วนสมบูรณ์ ก็จะทำให้เกิดภาพที่หน้าจอได้นะครับ?? หาก? แต่หากไม่คบถ้วนสมบูรณ์และเกิดปัญหาในอุปกรณ์ใดอุปกรณ์หนึ่ง ก็จะทำให้ไม่เกิดภาพ? ซึ่งในส่วนของช่างนั้น? หากได้ทำการเปลี่ยน CPU,RAM,VGA แล้วยังไม่เกิดภาพอีก? ช่างก็จะมองที่ส่วนของฮาร์ดแวร์? ซึ่งก็จะต้องมองที่ ไบออสก่อน โดยการนำไบออสยี่ห้อ,รุ่นเดียวกันมาทำการเปลี่ยน เพื่อดูผล? หากยังไม่เกิด และได้ทำการทดสอบ CPU,RAM,VGA เรียบร้อยแล้ว ว่าใช้งานได้ดีไม่เสียแล้ว? ช่างก็จะต้องมองที่ เมนบอร์ดครับ? ซึ่งครวนี้ก้จะต้องมองในส่วนของชิ้นอุปกรณ์อิเล็คทรอนิคส์? โดยการต้องเปลี่ยนชิพที่มีปัญหานั้นๆ ครับ

สวัสดีครับเพื่อนๆ วันนี้ผมได้นำวิธีการเคลีย password ของไบออส กรณีที่ตั้งเอาไว้แล้วลืมทำให้ไม่สามารถเข้าไบออสได้? เป็นเหตุให้การจัดการในเมนูไบออสไม่สามารถทำอะไรได้? สำหรับพีซีคงไม่อยาก เพราะเราแค่ยกจั๊มเปอร์ไปครอบที่ตำแหน่งเคลียซีมอส ก็คงหายแล้ว? แต่ในสำหรับโน๊ตบุ๊ค เราทำยากเพราะแบตอยู่ในเครื่อง ถอดยาก ยิ่งถ้าเครื่องอยู่ในประกัน เราคงไม่ควรทำอะไร? และหากว่าเอาไปให้ที่ศูนย์เขาจัดการให้? เขาก็อาจจะคิดค่าใช้จ่ายเพิ่มเติมก็ได้ อาจทำให้เราไม่พอใจ กับศูนย์นั้นๆในเรื่องราคาก็ได้นะครับ   จากรูปด้านบนนี้ ให้ถอดแบตเตอรี่ออก แล้วให้ทำการนำวัสดุโลหะไปแตะระหว่างขั้ว+ กับ – ที่อยู่ในเบ้าของแบตประมาณ 15 วินาที แล้วให้ใส่แบตลงไปอีกครั้ง เปิดเครื่อง การเคลียทางขั้วแบตเตอรี่ วิธีการที่นำมาใช้ก็มีหลายวิธีการ? หากเพื่อนๆไม่ชอบใจศูนย์ในการที่จะมีการคิดค่าใช้จ่ายที่แพงกับเรา โดยเราคิดว่าแค่เคลียพาสเวิร์ดหละก้อ เราก็อย่าไปง้อก็ได้นะ… เปิดฝาเครื่องหาแบตเตอรี่ แล้วดึงขั้วไปของแบตออก จากนั้นเอาปลายปากกาไปแต่ตรงพินของขั้วถ่านนั้นสักพัก? ก็จะสามารถที่จะเคลียได้แล้วครับ(อาจเป็นบางยี่ห้อที่จุกจิก ก็มีนะครับ)

สวัสดีครับเพื่อนๆ วันนี้ผมอยู่ที่จังหวัดเชียงราย? มาเป็นวิทยากรอบรมให้กับบริษัทคู่ค้าเกี่ยวกับเรื่องของโน๊ตบุ๊คและพีซี ในระดับพื้นฐาน นั่นหมายถึงว่าแค่รู้ัจัก และถอดอุปกรณ์เปลี่ยนใน Part ชิ้นใหญ่ๆไ้ด้เองนะครับ? เช็คเมล์ี่ที่มีเพื่อนๆถามกันมามีอยู่เรื่องหนึ่งก็คือเรื่องการซ่อมไบออส ว่าเขาทำกันอย่างไร? ผมก็เลยอดไม่ได้ที่จะทำการเพิ่มบทความใหม่เข้าในเวลานี้เลยครับ BIOS (Basic Input Output System) เป็น Software เล็กๆตัวหนึ่งที่ถูกบรรจุไว้ใน ROM Memory เมื่อเครื่องทำงาน จะถูก CPU เรียกใช้งานเป็นตัวแรก? ทำงานก่อนระบบปฏิบัติการ?? หน้าที่ของ BIOS ก็จะทำการตรวจสอบความพร้อมของอุปกรณ์ต่างๆ โดยเฉพาะ CPU , RAM , VGA เมื่อไม่เกิดปัญหาใด ก็จะแสดงภาพทางจอขึ้นมา? แต่ถ้าหากมีปัญหาติดขัด? ก็จะมีการแจ้งเตือนไม่ว่าจะเป็นเสียง บี๊บ หรือ CODE? บน Debug Card ครับ อาการเสียมีอะไรบ้างหละ อาการไฟจ่ายไม่มีภาพปรากฏบนจอ ก็เป็นกรณีหนึ่งที่เกิดจาก ไบออสเสียนะครับ อาการที่ไฟจ่ายแล้ว ที่ไฟสถานะของจอก็เปลี่ยนสถานะแล้ว แต่ภาพก็ไม่ขึ้น อาการที่ไฟสถานะติด มากกว่า…